✨วันนี้ ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (NBT) ขอนำเสนอเรื่อง 🧫“𝘓𝘰𝘯𝘨𝘪𝘤𝘰𝘳𝘱𝘶𝘴 𝘴𝘵𝘳𝘪𝘢𝘵𝘪𝘴𝘱𝘰𝘳𝘶𝘴 ราทะเลของไทยที่พบบ่อยในป่าจาก (𝘕𝘺𝘱𝘢 𝘧𝘳𝘶𝘵𝘪𝘤𝘢𝘯𝘴)” 🌊🌳
🌳ต้นจาก (𝘕𝘺𝘱𝘢 𝘧𝘳𝘶𝘵𝘪𝘤𝘢𝘯𝘴) เป็นพืชในกลุ่มปาล์มที่เจริญอยู่ในพื้นที่น้ำกร่อย (brackish) ที่มีลักษณะเป็นโคลนนิ่มๆ ที่มีการเคลื่อนที่ของกระแสน้ำขึ้นน้ำลงอย่างช้าๆ และยังเป็นบริเวณที่สะสมของสารอาหารในระบบนิเวศทางทะเล ราทะเลที่พบบนต้นจากนั้นทำหน้าที่เป็นผู้ย่อยสลายซากอินทรีย์ พบได้ทั้งในส่วนใบ กิ่ง ก้าน รวมทั้งฐานกาบใบที่ย่อยสลายของต้นจากอีกด้วย
🧫โดย “𝘓𝘰𝘯𝘨𝘪𝘤𝘰𝘳𝘱𝘶𝘴 𝘴𝘵𝘳𝘪𝘢𝘵𝘪𝘴𝘱𝘰𝘳𝘶𝘴 ราทะเลของไทยที่พบบ่อยในป่าจาก (𝘕𝘺𝘱𝘢 𝘧𝘳𝘶𝘵𝘪𝘤𝘢𝘯𝘴)” และในประเทศไทยของเราพบราทะเล 𝘓. 𝘴𝘵𝘳𝘪𝘢𝘵𝘪𝘴𝘱𝘰𝘳𝘶𝘴ได้ที่ไหน ? หน้าตาเป็นอย่างไร ? ไปติดตามกันเลยค่ะ
✨ เอกสารอ้างอิง:
Bucher, V.V.C., Hyde, K.D., Pointing, S.B., and Reddy, C.A. (2004). Production of wood decay enzymes, mass loss and lignin solubilization in wood by marine ascomycetes and their anamorphs. Fungal Diversity 15: 1-14.
Hyde, K.D. (1993). Fungi from Palms. V. 1 Phomatospora nypae sp. nov. and notes on marine fungi from Nypa fruticans in Malaysia. Sydowia 45: 15-20.
Hyde, K.D. and Fröhlich, J. (1997). Fungi from palms. XXXVII. The genus Astrosphaeriella, including ten new species. Sydowia 50(1): 81-132.
Hyde, K.D. and Sarma, V.V. (2006). Biodiversity and ecological observations on filamentous fungi of mangrove palm Nypa fruticans Wurumb (Liliopsida – Arecales) along the Tutong River, Brunei. Indian Journal of Geo-Marine Sciences 35(4): 297-307.
Pilantanapak, A., Jones, E.B.G. and Eaton, R.A. (2005). Marine fungi on Nypa fruticans in Thailand. Botanica Marina 48 (5): 365-373.
Jones, E.B.G., Pilantanapak, A., Chatmala, I., Sakayaroj, J., Phongpaichit, S. and Choeyklin, R. (2006). Thai marine fungal diversity. Songklanakarin J. Sci. Technol. 28(4): 687-708.
Loilong, A., Sakayaroj J., Rungjindamai, N., Choeyklin, R. and Jones E.B.G. (2012). Biodiversity of fungi on the palm Nypa fruticans. In: E. B. Gareth Jones, Ka-Lai Pang (eds) Marine Fungi: and Fungal-like Organisms. de Gruyter: Berlin, Boston, pp. 273-290.
กิตติกรรมประกาศ: ผลงานได้รับการสนับสนุนจาก สวทช. และกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ที่มาข้อมูล: ทีมวิจัยราทะเล สวทช.
Комментарии