🌳🌊ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (NBT) ขอนำเสนอเรื่อง “ราทะเล Saagaromyces ratnagiriensis ที่มีรยางค์คล้ายหมวก” 🧢🧫
รยางค์ของราทะเล (appendage) เป็นโครงสร้างที่ยื่นออกมาจากแอสโคสปอร์ เบสิดิโอสปอร์ หรือโคนิเดีย โดยราแต่ละชนิดมีลักษณะหรือขนาดของรยางค์แตกต่างกัน จึงใช้เป็นส่วนหนึ่งในการจัดจำแนกชนิด รยางค์มีหน้าที่ในการยึดเกาะกับพื้นผิวของวัสดุธรรมชาติในแหล่งน้ำเค็มและช่วยให้การแพร่พันธุ์ประสบความสำเร็จมากยิ่งขึ้นอีกด้วย
โดย “ราทะเล Saagaromyces ratnagiriensis ที่มีรยางค์คล้ายหมวก” และในประเทศไทยของเราพบราทะเล S. ratnagiriensis ได้ที่ไหน หน้าตาเป็นอย่างไร สามารถสร้างเอนไซม์อะไรบ้าง ไปติดตามกันเลยค่ะ
❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️❤️
เอกสารอ้างอิง
Jones, E.B.G., Pilantanapak, A., Chatmala, I., Sakayaroj, J., Phongpaichit, S. and Choeyklin, R. (2006). Thai marine fungal diversity. Songklanakarin J. Sci. Technol. 28(4): 687-708.
Pang, K.L., Cheng, S. and Jones, E.B.G. (2011). Marine mangrove fungi of Taiwan. Keelung: National Taiwan Ocean University.
Raghukumar, C., Raghukumar, S., Chinnaraj, A., Chandramohan, D., D’Souza, T.M. and Reddy, C.A. (1994). Laccase and other lignocellulose modifying enzymes of marine fungi isolated from the coast of India. Botanica Marina 37: 512-523.
Comments